edwinperera.com

edwinperera.com

วันอาสาฬหบูชา เหตุการณ์สําคัญ 3ประการ | วันอาสาฬหบูชา | วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพุทธศาสนา คือวันที่มีเหตุ การณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า วันสำคัญทางพระพุทธ ศาสนา มี 4 วัน คือ 1. วันวิสาขบูชา 2. วันมาฆบูชา 3. วันอาสาฬหบูชา 4. วันอัฏฐมีบูชา วันวิสาขบูชา • ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 มีเหตุการณ์สำคัญ 3 อย่างเกิดขึ้น คือ 1. เป็นวันประสูติของพระพุทธเจ้า 2. เป็นวันตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า 3. เป็นวันปรินิพพานของพระพุทธเจ้าบางครั้งเราเรียกวันนี้ว่า พระพุทธ องค์กรสหประชาชาติรับรองให้เป็นวันนี้เป็นวันสำคัญสากลของโลก วันมาฆบูชา • ตรงกับวันขึ้น 15 เดือน 3 ( มาฆมาส)มีเหตุการณ์สำคัญ 4 อย่าง เกิดขึ้น 1. เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ 2. พระสงฆ์ 1, 250 รูปประชุมโดยไม่นัด 3. พระสงฆ์ล้วนเป็นพระอรหันต์ 4. พระสงฆ์ล้วนบวชกับพระพุทธเจ้า ที่เรียกว่า เอหิภิกขุอุปสัมปทา เรียกอีกอย่างว่า วันจาตุรงคสันนิบาต บางครั้งเราเรียกว่า วันพระธรรม วันอาสาฬหบูชา • ตรงกับวันขึ้น 15 เดือน 8 มีเหตุการณ์สำคัญ ๓ อย่าง เกิดขึ้น 1. พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ชื่อ พระธัมมจักกัปปวัตนสูตร 2. พระสาวกองค์แรกเกิดขึ้นในโลก คือ พระอัญญาโกณทัญญะ 3.

วันอาสาฬหบูชา | วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

วันอาสาฬหบูชา::ดินแดนปัญญาชน วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หรือ ราวเดือนกรกฎาคม ซึ่งเป็นวันพระจันทร์เสวยอาสาฬหฤกษ์ แต่หากตรงกับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน วันอาสาฬหบูชาจะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หลัง ตกในราวเดือนสิงหาคม "อาสาฬหบูชา" ย่อมาจากคำว่า "อาสาฬหปุรณมีบูชา" แปลว่า การบูชาในวันเพ็ญเดือนอาสาฬห คือ เดือน 8 ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น 3 ประการ ดังนี้ 1. เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ แสดงธรรมเป็นครั้งแรก มีชื่อว่า ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ซึ่งมีใจความสำคัญกล่าวถึงอริยสัจ หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ คือ ความลำบาก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ, สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์, นิโรธ คือ ความดับทุกข์, และ มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งทุกข์ การแสดงธรรมครั้งแรกนี้ เพื่อโปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 คือ อัญญาโกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ จึงถือกันว่าเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนา 2. เป็นวันที่เกิดสังฆรัตนะ หรือเป็นวันที่เกิดพระอริยสงฆ์ สาวกในพระพุทธศาสนาขึ้นครั้งแรกในโลก พระอริยสงฆ์สาวกองค์แรกคือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ซึ่งเมื่อพระธรรมเทศนาธรรมจักกัปปวัตนสูตรแล้ว บังเกิดดวงตาเห็นธรรมทูลขอบวช ซึ่งพระพุทธองค์ประทานอนุญาตให้อุปสมบทเป็นภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา ในวันนี้ 3.

เป็นวันแรกที่พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระศาสนา โดยทางแสดงพระปฐมเทศนา คือ ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ประกาศสัจธรรมอันเป็นองค์แห่งพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณที่พระองค์ตรัสรู้ ให้เป็นที่ประจักษ์แก่ สรรพสัตว์ทั้งหลาย ๒. เป็นวันแรกที่บังเกิดพระอริยสงฆ์สาวกขึ้นในโลก คือ พระโกณฑัญญะ เมื่อได้ฟังพระปฐมเทศนาจบ ได้ดวงตาเห็นธรรม ได้ทูลขออุปสมบท และพระพุทธเจ้าได้ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีเอหิภิกษุอุปสัมปทา ในวันนั้น ๓.

วันอาสาฬหบูชา ::ดินแดนปัญญาชน www.SEAL2thai.org

สัมมาสติ ระลึกชอบ คือ ทำการด้วยจิตสำนึกเสมอ ไม่เผลอพลาด ๘. สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ คือ คุมจิตให้แน่วแน่มั่นคงไม่ฟุ้งซ่าน ข. อริยสัจ ๔ แปลว่า ความจริงอันประเสริฐของอริยะ ซึ่งคือ บุคคลที่ห่างไกลจากกิเลส ได้แก่ ๑. ทุกข์ ได้แก่ ปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ บุคคลต้องกำหนดรู้ให้เท่าทันตามความเป็นจริงว่ามันคืออะไร ต้องยอมรับรู้กล้าสู้หน้าปัญหา กล้าเผชิญความจริง ต้องเข้าใจในสภาวะโลกว่าทุกสิ่งไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น ไม่ยึดติด ๒. สมุทัย ได้แก่ เหตุเกิดแห่งทุกข์ หรือสาเหตุของปัญหา ตัวการสำคัญของทุกข์ คือ ตัณหาหรือเส้นเชือกแห่งความอยากซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัยอื่น ๆ ๓. นิโรธ ได้แก่ ความดับทุกข์ เริ่มด้วยชีวิตที่อิสระ อยู่อย่างรู้เท่าทันโลกและชีวิต ดำเนินชีวิตด้วยการใช้ปัญญา ๔.

วันอาสาฬหบูชา อาสาฬหปูรณมีบูชา การบูชาในวันเพ็ญเดือน อาสาฬหะ | วันสำคัญของไทย

  • วันอาสาฬหบูชา อาสาฬหปูรณมีบูชา การบูชาในวันเพ็ญเดือน อาสาฬหะ | วันสำคัญของไทย
  • A31 แปลง r32
  • เสื้อ เชิ้ต ยีน ส์ levi's
  • ดูซีรีย์ Poldark สิ้นสมรภูมิรบ ผจญสมรภูมิรัก ปี 1 พากย์ไทย ซับไทย ภาพชัด HD
  • วันอาสาฬหบูชา | วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
  • สัตว์มหัศจรรย์ ความลับของดัมเบิลดอร์ Fantastic Beasts (2022) ดูหนังออนไลน์
  • วันอาสาฬหบูชา เหตุการณ์สําคัญ 3ประการ
  • โปรแกรม mixer คอม
  • วัน อาสาฬหบูชา (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! พีเดีย
  • แปรงลวดกลม 6 นิ้ว
  • แผงโซล่าเซลล์ 300w ราคา

ศ.

ความสำคัญของวันอาสาฬหบูชา และหลักการปฏิบัติธรรม - สมาคมกีฬาเทนนิส เอซี สปอร์ตเซ็นเตอร์

เป็นวันที่พระพุทธเจ้าได้ทรงประกาศพระศาสนาเป็นครั้งแรก ด้วยการแสดงปฐมเทศนา ที่มีชื่อว่า �ธรรมจักกัปปวัตนสูตร� ซึ่งหมายถึง พระสูตรว่าด้วยการยังธรรมจักรให้เป็นไป นั่นคือ ธรรมะของพระพุทธองค์เหมือนวงล้อธรรมที่ได้เริ่มเคลื่อนแล้วจากจุดเริ่มต้นในวันนี้ ๒. เมื่อพระโกณฑัญญะ หนึ่งในปัจวัคคีย์ได้ฟังธรรม ก็เกิดดวงตาเห็นธรรม คือ เห็นจริงตามที่พระพุทธองค์ทรงเทศนา จึงได้ทูลขอบวช ซึ่งพระพุทธเจ้าก็ทรงบวชให้ด้วยวิธี �เอหิภิกขุอุปสัมปทา� (การบวชที่พระพุทธเจ้าทรงประทานให้ด้วยการเปล่งวาจาให้เข้ามาเป็นพระภิกษุได้) ดังนั้น พระโกณฑัญญะจึงเป็นเป็นสาวกองค์แรกในพุทธศาสนา และ ๓. ทำให้วันนี้เป็นวันที่มีพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบเป็นองค์พระรัตนตรัย เป็นครั้งแรกในโลก อนึ่ง เนื้อหาของ �ธรรมจักกัปปวัตนสูตร� อันพระธรรมเทศนาครั้งแรกเป็นการสอนมิให้ประพฤติที่สุดโต่ง ๒ ส่วนคือ ๑. กามสุขัลลิกานุโยค คือ การหมกมุ่นมัวเมาในกามสุข และ๒. อัตตกิลมถานุโยค คือ การทรมานตัวให้ลำบาก แต่ให้เดินตามสายกลางคือ มัชฌิมาปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติที่สมควรไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป เรียกว่าอริยมรรค อันประกอบด้วยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ๒.

วัน อาสาฬหบูชา, วัน อาสาฬหบูชา หมายถึง, วัน อาสาฬหบูชา คือ, วัน อาสาฬหบูชา ความหมาย, วัน อาสาฬหบูชา คืออะไร อาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หรือราวเดือน กรกฎาคม ซึ่งเป็นวันพระจันทร์เสวยอาสาฬหฤกษ์ แต่หากตรงกับปีอธิกมาส คือมีเดือน 8 สองหน วันอาสาฬหบูชา จะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 หลังตกในราวเดือนสิงหาคม "อาสาฬหบูชา" ย่อมาจากคำว่า "อาสาฬหปุรณมีบูชา" แปลว่า การบูชาในเดือนวันเพ็ญเดือนอาสาฬห คือเดือน 8 ถือเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น 3 ประการดังนี้ 1. เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือแสดงธรรมเป็นครั้งแรก มีชื่อว่า ธรรมจักกัปปวัตนสูตร ซึ่งมีใจความสำคัญกล่าวถึงอริยสัจ 4 หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ได้แก่ ทุกข์ คือ ความลำบาก ความไม่สบายกายไม่สบายใจ สมุทัย คือ เหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ นิโรธ คือ ความดับทุกข์ มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับแห่งทุกข์ การแสดงธรรมครั้งแรกนี้ เพื่อโปรดเหล่าปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 คือ อัญญาโกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ จึงถือกันว่าเป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศศาสนา 2. เป็นวันที่เกิดสังฆรัตน หรือเป็นวันที่เกิดพระอริยสงฆ์ สาวกในพระพุทธศาสนาขึ้นครั้งแรกในโลก พระอริยสาวกองค์แรก คือพระอัญญาโกณฑัญญะ ซึ่งเมื่อฟังพระธรรมเทศนาธรรมจักกัปปวัตนสูตรแล้ว บังเกิดดวงตาเห็นธรรมทูลขอบวช ซึ่งพระพุทธองค์ทรงประทานอนุญาตให้อุปสมบทเป็นภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา ด้วยวิธีเอหิภุขุอุปสัมปทาในวันนี้ 3.

วันอาสาฬหบูชา ระลึกถึงเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในศาสนาพุทธ 3 ประการ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘

มัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัติที่เป็นกลาง ๆ ถูกต้องและเหมาะสมที่จะให้บรรลุถึงจุดหมายได้ มิใช่การดำเนินชีวิตที่เอียงสุด ๒ อย่าง หรืออย่างหนึ่งอย่างใด คือ ๑. การหมกหมุ่นในความสุขทางกาย มัวเมาในรูป รส กลิ่น เสียง รวมความเรียกว่า เป็นการหลงเพลิดเพลินหมกหมุ่นในกามสุข หรือ กามสุขัลลิกานุโยค ๒. การสร้างความลำบากแก่ตนดำเนินชีวิตอย่างเลื่อนลอย เช่น บำเพ็ญตบะการทรมานตน คอยพึ่งอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เป็นต้น การดำเนินชีวิตแบบที่ก่อความทุกข์ให้ตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกว่า อัตตกิลมถานุโยค ดังนั้นเพื่อละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสุดเหล่านี้ ต้องใช้ทางสายกลาง ซึ่งเป็นการดำเนินชีวิตด้วยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัติเป็นองค์ประกอบ ๘ ประการ เรียกว่า อริยอัฏฐังคิกมัคค์ หรือ มรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือ รู้เข้าใจถูกต้อง เห็นตามที่เป็นจริง ๒. สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ คือ คิดสุจริตตั้งใจทำสิ่งที่ดีงาม ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ กล่าวคำสุจริต ๔. สัมมากัมมันตะ กระทำชอบ คือ ทำการที่สุจริต ๕. สัมมาอาชีวะ อาชีพชอบ คือ ประกอบสัมมาชีพหรืออาชีพที่สุจริต ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชั่วบำเพ็ญดี ๗.

การประกอบตนให้อยู่ในความสุขด้วยกาม ซึ่งเป็นธรรมอันเลวเป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ๒. การประกอบการทรมานตนให้เกิดความลำบาก ไม่ใช่ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ การดำเนินตามทางสายกลาง คือ ไม่เข้าไปใกล้ที่สุดทั้งสองอย่างนั้น เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ ด้วยปัญญาอันยิ่ง ทำดวงตาและญาณให้เกิด เป็นไปเพื่อความสงบระงับ ความรู้ยิ่ง ความตรัสรู้ และนิพพาน ทางสายกลาง ได้แก่ อริยมรรคมีองค์แปด คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ดำริห์ชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ อริยสัจสี่ คือความจริงอันประเสริฐที่พระองค์ค้นพบ มี ๔ ประการ ได้แก่ ๑. ความทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย ความได้พบกับสิ่งที่ไม่เป็นที่รัก ความพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น ว่าโดยย่อ อุปาทานในขันธ์ 5 เป็นทุกข์ ๒. สาเหตุแห่งทุกข์ ได้แก่ ตัณหาความทะยานอยาก อันทำให้เกิดอีกความกำหนัด เพลิดเพลินในอารมณ์ คือกามตัณหา ความทะยานอยากในกาม ภวตัณหา ความทะยานในภพ วิภวตัณหา ความทะยานอยากในความไม่มีภพ ๓. ความดับทุกข์ โดยการดับตัณหาด้วยอริยมรรค คือ วิราคะ สละ ดับ ปล่อยไป ไม่พัวพัน ๔.

  1. วิทยุ วี โก้
  2. หา หอพัก ชลบุรี ศรีราชา
  3. เจ๊ กั้ง นายจ้าง โหด หน้าตา
  4. ซื้อกองทุน ยังไง