edwinperera.com

edwinperera.com

โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 – ทำความรู้จักกับ Macromedia Dreamweaver - สอน Dreamweaver 8

การบันทึกเว็บเพจ การบันทึกเว็บเพจทั้งเว็บเพจที่สร้างใหม่และเว็บเพจที่เปิดขึ้นมาใช้งาน มีวิธีการดังนี้ การบันทึกไฟล์ใหม่ คลิกคำสั่ง File >> Save As จะได้หน้าต่าง Save As เลือกโฟลเดอร์และพิมพ์ชื่อไฟล์ คลิกปุ่ม Save คำสั่ง Save All หมายถึงบันทึกไฟล์ทั้งหมดที่เปิดใช้งานหรือแก้ไข คำสั่ง Save to Remote Server หมายถึง บันทึกเว็บเพจและอัพโหลดไปสู่เซิร์ฟเวอร์ คำสั่ง Save as Template หมายถึง บันทึกเป็นแม่แบบสำหรับใช้งาน 5. การทดสอบกับเว็บเบราเซอร์ เว็บเพจที่สร้างและบันทึกไว้แล้ว สามารถทดสอบเพื่อดูผลงานกับเว็บเบราเซอร์แบบ ออฟไลน์ (Offline) ได้ โดยปกติ Dreamweaver 8 จะเลือกเว็บเบราเซอร์ให้เองโดยอัตโนมัติ ส่วนใหญ่ก็จะแป้น Internet Explorer แต่มีบางคนที่ใช้ Firefox ทั้งนี้ การแสดงผลอาจจะไม่ตรงกันเสียทีเดียว การทดสอบกับเว็บเบราเซอร์ ทำได้ดังนี้ กดแป้น < F12 > บนคีย์บอร์ด หรือดับเบิลคลิกที่ไฟล์ นั้น ๆ หรือ เลือกคำสั่ง File >> Preview in Browser >> (หรือ) จะได้เว็บเพจดังตัวอย่าง 6. การออกจากโปรแกรม การออกจากโปรแกรมทำได้ 4 วิธี ดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกเมาส์ที่ปุ่ม Close ที่ Control Box วิธีที่ 2 คลิกที่ปุ่ม บน Title Bar แล้วเลือกคำสั่ง Close วิธีที่ 3 คลิกที่คำสั่ง File >> Exit วิธีที่ 4 ใช้แป้นพิมพ์ < Ctrl > + < Q >

วิธี เซ็ตให้ โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 เปิดขึ้นมาเป็น ภาษาไทย

โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 english download
  1. เปรียบเทียบพร้อมส่งในไทยพัดลม16 นิ้วสไลด์ชาร์ปรุ่นSL-163 | Thai garnish
  2. โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 mois
  3. Klean&kare normal saline ราคา mist
  4. เพชรสยาม พีอี ไพ้พ์
  5. โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 ano
  6. โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 plus
  7. โปรแกรม macromedia dreamweaver 8.1
  8. โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 download
โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 download free software

De dezembro

Designer หมายถึง การสร้างและออกแบบเว็บเพจโดยทั่วไป ส่วนมากนิยมเลือกรูปแบบนี้ 2. Code หมายถึง วิธีการสร้างเว็บเพจที่เน้นการเขียนชุดคำสั่งเอง (ข้อแนะนำ ในที่นี้ขอแนะนำให้เลือก Designer เพื่อง่ายต่อการทำความเข้าใจ) ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 โปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 มีองค์ประกอบของหน้าต่างโปรแกรม ดังต่อไปนี้ หน้าจอ Start Page ทุกครั้งเมื่อเปิดโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 จะปรากฏหน้าจอเริ่มต้น (Start Page) สำหรับเปิดเอกสารเว็บเพจเดิมหรือสร้างเอกสารเว็บเพจใหม่ โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ แต่ละส่วน มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. ใช้สำหรับเปิดไฟล์เอกสารเว็บเพจที่เคยใช้งานมาแล้ว (Open a Recent Item) เป็นส่วนแรกของหน้าจอเริ่มต้นใช้สำหรับเปิดงานที่เราทำค้างไว้ ซึ่งเลือกจากรายการชื่อที่แสดงอยู่ โดยโปรแกรมจะแสดงงานที่เปิดใช้บ่อยอยู่ด้านบน 2. การสร้างงานใหม่ (Create New) ในส่วนนี้เป็นการเลือกประเภทงานที่ต้องการสร้างใหม่ โดยเลือกประเภทไฟล์ต่างๆ ได้ เช่น HTML, PHP, ASP JavaScript, ASP VBScript, C#, VB, JSS, CSS หรือเลือกแบบฟอร์มอื่นๆ เป็นต้น 3. การสร้างงานตามแบบฟอร์ม (Create from Sample) เป็นสร้างเว็บเพจตามแบบฟอร์มที่โปรแกรมได้จัดไว้ให้แล้ว ซึ่งมีรูปแบบให้เลือกหลายประเภท ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม เมื่อเราเลือกประเภทการทำงานแล้ว (ในกรณีนี้ผู้สอนคลิกเลือก HTML จากส่วนของ Create New) จะปรากฏหน้าต่างการทำงานของโปรแกรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.

สาระสำคัญ โปรแกรม Dreamweaver เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการจัดการกับเอกสารที่ใช้สำหรับการสร้างเว็บเพจ และเว็บแอพพลิเคชั่น สามารถจัดวางข้อความ รูปภาพ ตารางข้อมูล แบบฟอร์ม ฯลฯ ลงไปในเว็บเพจได้อย่างง่ายดาย โดยไม่จำเป็นต้องใช้โค้ด HTML ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายประโยชน์และความสามารถของโปรแกรม Dreamweaver8 ได้ (K) 2. อธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver8 ได้ (K) 3. มีทักษะในการเรียกใช้และใช้งานส่วนประกอบของโปรแกรม Dreamweaver8 (P) 4. มีความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต่อการใช้โปรแกรม Dreamweaver8(A) 1.

Toolbar เป็นแถบเครื่องมือที่เก็บปุ่มคำสั่งที่ต้องใช้งานบ่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย Show Code View สำหรับแสดงการทำงานในรูปแบบ HTML นอกจากนี้ยังสามารถเขียนคำสั่ง HTML หรือคำสั่งภาษาสคริปต์ (Script) อื่นๆ ได้ด้วย Show Code and Design สำหรับแสดงการทำงานแบบ HTML กับการแสดงพื้นที่ออกแบบ โดยจะแสดงส่วนของคำสั่งไว้ด้านบนและแสดงเว็บเพจปกติไว้ด้านล่าง Show Design View สำหรับแสดงเว็บเพจคล้ายกับที่เราเห็นใจเบราเซอร์ เช่น ข้อความ กราฟิก หรือออปเจ็กต์อื่นๆ และสามารถแก้ไขเนื้อหาลงเว็บเพจได้ 5. Document Area เป็นส่วนที่ใช้สำหรับสร้างหน้าเว็บเพจ โดยการใส่เนื้อหาและจัดองค์ประกอบต่างๆ นำมาวางใน Document Area และสามารถเลือกพื้นที่การทำงานได้หลายมุมมอง เช่น Show Code View, Show Code and Design View ดังที่ได้กล่าวไว้แล้วข้างต้น 6. Status Bar คือ แถบแสดงสถานะที่อยู่บริเวณด้านล่างของพื้นที่สร้างงาน (Document Area) ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ทางด้านซ้ายเรียกว่า Tag Selector ใช้สำหรับแสดงคำสั่ง HTML ของส่วนประกอบในเว็บเพจที่เลือกอยู่ และทางด้านขวาเป็นส่วนที่บอกขนาดและเวลาที่ใช้ในการดาวน์โหลดเว็บเพจ 7. Properties Inspector เป็นหน้าต่างแสดงคุณสมบัติของออปเจ็กต์ที่เรากำลังเลือกในเว็บเพจ และสามารถกำหนดหรือแก้ไขคุณสมบัติของส่วนประกอบต่างๆ ในหน้าเว็บเพจได้ เช่น ข้อความ สี ขนาด ตาราง ลิงก์ เป็นต้น โดยรายละเอียดภายในหน้าต่าง Properties Inspector จะไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับว่าขณะนั้นเรากำลังเลือกทำงานกับออปเจ็กต์ใดอยู่ Properties Inspector ของภาพกราฟิก Properties Inspector ของข้อความ Properties Inspector ของตาราง 8.

Ball pool

แถบชื่อเรื่อง (Titlebar) เป็นส่วนที่ใช้แสดงชื่อโปรแกรม Dreamweaver 8 และชื่อไฟล์เอกสารเว็บเพจที่กำลังทำงานอยู่ 2. แถบรายการคำสั่ง (Menu Bar) เป็นส่วนที่รวบรวมรายการคำสั่งการทำงานเอาไว้ สามารถเปิดรายการคำสั่งต่างๆ ขึ้นมาใช้งานโดยคลิกที่ชื่อรายการคำสั่งแล้วเลื่อนเมาส์ไปยังตำแหน่งที่ต้องการใช้งาน หากรายการคำสั่งใดมีรายการคำสั่งย่อยจะแสดงลูกศรอยู่มุมขวาของรายการ หากเลื่อนเมาส์ไปยังบริเวณดังกล่าว จะแสดงรายการคำสั่งย่อยเพื่อใช้งานต่อไป 3.

โปรแกรม macromedia dreamweaver 8 ano

การติดตั้งโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8 - YouTube

  1. จอไอโฟน7 plus แท้
  2. Takamine etn20c ราคา bitcoin
  3. โรงแรม hi chiangrai
  4. แมคเบธ