edwinperera.com

edwinperera.com

โรค Ncd 2562 — รายงานสถานการณ์โรค Ncd พ.ศ. 2562 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง :: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2573 จนถึงปี พ. 2593 จะมีประชากรเสียชีวิตด้วยโรคที่มีสาเหตุจากมลพิษทางอากาศและอุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้นมากขึ้นถึงปีละ 250, 000 คน 2.

เปิด 10 สถิติโรคฮิตของผู้สูงวัย พบ เบาหวานขึ้นแท่นอันดับหนึ่งที่มีคนป่วยมากที่สุด - มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย

ที่อยู่อาศัยที่ไม่เหมาะสมและไม่เอื้ออำนวย ปัจจุบันประชากรมากกว่า 1, 600 ล้านคน หรือ 22% ของประชากรทั่วโลกอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมและไม่เอื้ออำนวย เช่น แออัดเกินไป แห้งแล้งจัดหรืออยู่ในวิกฤตสงคราม ซึ่งส่งผลให้พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐานได้ คนที่ต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่เหล่านี้มีอยู่ทุกภูมิภาคของโลก กลุ่มที่น่าเป็นห่วงที่สุดคือเด็กและแม่เด็ก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากระบบสาธารณสุขที่เหมาะสม ทั้งนี้ WHO ระบุว่าจะเดินหน้าร่วมมือกับประเทศเหล่านี้ต่อไป เพื่อพัฒนาระบบสาธารณสุขให้ได้มาตรฐานและให้ทุกคนเข้าถึงได้ 5. การดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial resistance) การพัฒนายาปฏิชีวนะ ยาต้านไวรัสและยารักษามาเลเรียนับเป็นความสำเร็จครั้งสำคัญของวงการแพทย์สมัยใหม่ แต่เวลาของยาเหล่านี้กำลังจะหมดลงจากปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพ ซึ่งเกิดจากการที่เชื้อไวรัส แบคทีเรีย ปรสิตและเชื้อราต่างๆ พัฒนาตัวเองจนต้านทานยารักษาได้ WHO ระบุว่า ปัญหาการดื้อยานี้อาจจะทำให้โลกต้องกลับสู่ยุคที่การรักษาโรค อย่าง วัณโรค ปอดบวม หนองในและโรคซาลโมเนลโลสิส เป็นเรื่องที่ยากลำบาก ภาวะการดื้อยาจะทำให้การรักษาโรคที่มีผู้ป่วยราว 10 ล้านคนต่อปีและมีผู้เสียชีวิต 1.

ศ. 2552 พบว่าสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมด มีถึง 63% ที่เกิดจากกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญกว่านั้นคือ กว่า 80% เป็น ประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทยเอง สถิติล่าสุดพบว่ามีถึง 14 ล้านคนที่เป็นโรค ในกลุ่มโรค NCDs และที่สำคัญยังถือเป็นสาเหตุหลักการเสียชีวิตของ ประชากรทั้งประเทศ โดยจากสถิติปี พ.

รายงานการสำรวจสถานการณ์สาธารณสุขโลกขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในรอบปีที่ผ่านมา ประชากรหลายพันล้านคนทั่วโลกยังคงเผชิญกับ 10 ปัญหาที่คุกคามสุขภาพของพวกเขา ไล่ตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน อย่างโรคหัดและโรคคอตีบ ไปจนถึงภาวะดื้อยา โรคอ้วนและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก เพื่อต่อสู้กับภัยคุกคามทางสุขภาพเหล่านี้ WHO ได้ร่างแผนยุทธศาสตร์ 5 ปีขององค์กรขึ้นมา โดยมีเป้าหมายเพื่อลดความรุนแรงของปัญหาสาธารณสุขโลก 10 เรื่อง และทำให้ประชากรโลกอย่างน้อย 1, 000 ล้านคนได้รับการคุ้มครองสุขภาพและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นภายในปี พ. ศ. 2567 10 ภัยคุกคามต่อระบบสาธารณสุขโลกในปี 2562 ที่ WHO ระบุเอาไว้ในรายงาน มีดังนี้ 1. มลพิษทางอากาศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในปี 2562 นี้องค์การอนามัยโลกระบุให้มลพิษทางอากาศคือภัยจากสิ่งแวดล้อมที่นำมาสู่ปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่ง ข้อมูลของ WHO ระบุว่า 9 ใน 10 คนบนโลกต้องเผชิญกับมลพิษทางอากาศทุกวัน นอกจากนี้มลพิษทางอากาศยังเป็นต้นเหตุของโรคทางเดินหายใจ ปอด หัวใจและสมองที่ฆ่าชีวิตมนุษย์กว่า 7 ล้านคนต่อปีอีกด้วย สาเหตุหลักของการเกิดมลพิษทางอากาศนั้น มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และ 90% ของผู้เสียชีวิตอาศัยอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปจนถึงรายได้ต่ำ องค์การอนามัยโลกคาดการณ์ว่าระหว่างปี พ.

9% (3. 2 ล้านคน) มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อัตราการควบคุมได้ในกลุ่ม ผู้ที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูงยังอยู่ในเกณฑ์ไม่น่าพอใจ โดยเฉพาะประชากร ชายที่มีน้ำตาลในเลือดสูง พบว่า 56. 7% ที่รู้ตัว และมีเพียง 27. 1% ที่สามารถ ควบคุมภาวะน้ำตาลในเลือดได้ 19. 4% หรือเกือบ 9 ล้านคน มีภาวะไขมันคลอเรสเตอรอลสูง โดยผู้หญิงมี ความชุกมากกว่าผู้ชาย - ปี 2552 ประชากรไทยเกือบ 1 ใน 3 เข้าข่ายภาวะน้ำหนักเกิน ส่วนอีก 8. 5% เข้าข่ายโรคอ้วน - ข้อมูลการสำรวจสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของคนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป นอกจากนี้ ยังพบว่ามีสัดส่วนผู้ที่เป็นโรคอ้วนในช่วง 20 ปี ที่ผ่านมา ในชาย เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (ปี 2535-2552) ถึง 4 เท่า

กลุ่มโรค NCDs - Thaihealth.or.th | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

  • ขายที่ดินเปล่า ขนาด 94 ตรว ถนนสรงประภา ดอนเมือง | property108.com
  • Ha skin booster ราคา 7-11
  • Gta iv สอน โหลด mods
  • หา โปรแกรม โหลด chrome
  • รายงานสถานการณ์โรค NCD พ.ศ. 2562 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง :: สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  • ห้อง ดี ลัก
  • เฉลย interchange fourth edition workbook pdf
  • ลายแทง ไซ ไล
  • "เมกา บางนา" เปิดโซนแบงก์ให้บริการตามปกติ
  • คะแนนเฉลี่ย onet 64 online
  • Toyota yaris ภายใน

องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์ประชากรว่าในปี 2544- 2643 จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ โดยคาดการณ์ว่าผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น 1. 2 พันล้านคนในปี 2568 และจะกลายเป็น 2 พันล้านคนในปี 2593 ในส่วนของประเทศไทยโครงสร้างของประชากรมีแนวโน้มสูงขึ้น ทำให้เกิดปรากฎการณ์การเปลี่ยนผ่านด้านภาวะสุขภาพ จากการ "เกิดโรค" เป็นการ "เสื่อมสภาพ"ของร่างกายตามวัย และโรคไม่ติดต่อหรือโรคเรื้อรังมากขึ้น รายงานการวิจัย เรื่อง "การวิเคราะห์ภาวะสุขภาพ ภาระโรคและความต้องการบริการด้านสุขภาพในผู้สูงอายุ" โดยนพ. สกานต์ บุนนาค และคณะ ซึ่งได้รับการสนับสนุนการวิจัยโดยมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส. ผส. ) และ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช. ) โดยพบว่า จำนวนผู้ป่วยสูงอายุชายที่มารับบริการในสถานบริการของกระทรวงสาธารณสุขในปี 2562 จำนวนกว่า 5. 1 ล้านคน มีผู้ป่วยโรคเบาหวานมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 19. 90 อันดับ 2 โรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 5. 83 ตามด้วยอันดับ 3 โรคข้อเสื่อมร้อยละ 5. 80 อันดับ 4 โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ร้อยละ 3. 75 อันดับ 5 โรคหัวใจขาดเลือดร้อยละ 2. 59 อันดับ 6 วัณโรค ร้อยละ 2. 64 อันดับ 7 หูหนวก ร้อยละ 1. 81 อันดับ 8 โรคมะเร็งตับ ร้อยละ 0.

โรคไม่ติดต่อ หรือ NCDs (Non-Communicable Diseases) เป็นโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือสารคัดหลั่งต่าง ๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่าง ๆ ภายในร่างกาย ส่วนใหญ่เป็นผลจากวิถีการใช้ชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่างเหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวาน มัน เค็มจัด และมีความเครียด การเจริญเติบโตของโรคจะค่อย ๆ สะสมสุดท้ายจะเกิดอาการเรื้อรังในที่สุด หากไม่ได้รับการรักษาหรือดูแลอย่างถูกต้องและทันเวลา ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง โรคไม่ติดต่อ NCDs ยอดฮิตของคนไทย มีอะไรบ้าง?

โรคไข้เลือดออกหรือไข้เดงกี (dengue virus) โรคไข้เลือดออกที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี โดยมียุงเป็นพาหนะ ในแต่ละปีมีผู้ติดเชื้อจากไวรัสเดงกีมากถึง 390 ล้านคน และมีประชากรมากกว่า 40% ทั่วโลกที่มีความเสี่ยงจะติดเชื้อโรคดังกล่าว โดยประเทศที่มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าวมากที่สุดคือ ประเทศบังกลาเทศและอินเดีย อย่างไรก็ดี องค์การอนามัยโลกตั้งเป้าว่าจะต้องลดจำนวนผู้เสียชีวิตให้ได้ 50% ภายในปี พ. 2563 10. เชื้อเอชไอวี (HIV) แม้ปัจจุบันแนวทางในการรักษา HIV จะมีประสิทธิภาพและก้าวหน้าขึ้นเรื่อยๆ แต่ WHO กลับชี้ว่ายังมีประชากรโลกมากถึง 37 ล้านคนต้องใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับเชื้อดังกล่าว แม้ว่าผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่คือกลุ่มคนที่ขายบริการทางเพศ ผู้ต้องขังในเรือนจำและกลุ่มชายรักร่วมเพศ แต่กลับมีแนวโน้มว่าเด็กและผู้หญิงในแถบประเทศแอฟริกา อายุตั้งแต่ 15 – 24 ปี นั้นมีความเสี่ยงสูงที่จะติดเชื้อ HIV มากขึ้น โดยในปีนี้องค์การอนามัยโลกตั้งเป้าว่าจะสนับสนุนวิธีการตรวจสอบเชื้อ HIV ด้วยตัวเองผ่านความร่วมมือกับรัฐบาลในแถบประเทศดังกล่าวให้มากขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้รับรู้ถึงสถานะและหาวิธีในการป้องกันและรักษาตามลำดับต่อไป

3 ของประชากรเป้าหมาย นอกจากนี้มีการจัดให้มีช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง ร่วมกับการจัดตั้งหอผู้ป่วยหลอดเลือดสมองในโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วประเทศ เพื่อให้ผู้ป่วยได้ทำ ซีทีสแกนสมอง และได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ในเวลาที่เหมาะสม เป็นผลให้อัตราการเสียชีวิตในโรงพยาบาลของผู้ป่วยจากโรคหลอดเลือดสมองตีบลดลง จากร้อยละ 17. 6 ในปี 2556 เป็นร้อยละ 8.